สิ่งที่เรียนในวันนี้ อาจารย์ ทบทวนบทเรียนเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ในเรื่องของขอบข่ายของคณิตศาสตร์
โดยการยกตัวอย่าง
( นิตยา ประพฤติกิจ 2541 : 17 – 19 )
<!--[if !supportLists]-->1.
<!--[endif]-->การนับ
สิ่งที่ได้คือ = จำนวน
คิด สัญลักษณ์ จำนวนกำกับเลขฮินดูอารบิก สัญลักษณ์
เรียงลำดับ
<!--[if !supportLists]-->2.
<!--[endif]-->ตัวเลข = เป็นสัญลักษณ์เพื่อกำกับค่า เพื่อสื่อสาร
<!--[if !supportLists]-->3.
<!--[endif]-->การจับคู่ = เหมือนกัน รูปร่าง
รูปทรง จำนวน
<!--[if !supportLists]-->4.
<!--[endif]-->ประเภท = กำหนดเกณฑ์
เช่น สัตว์บก สัตว์น้ำ
<!--[if !supportLists]-->5.
<!--[endif]-->การเปรียบเทียบ = หาค่า , เปรียบเทียบ , ให้เด็กลงมือกระทำ ต้องสามารถจับต้องได้เป็น 3 มิติ
การเปรียบเทียบให้เด็กต้องจับคู่เป็น 1:1
ตามทฤษฎีของเพียเจต์
ต้องให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่นามธรรม
<!--[if !supportLists]-->6.
<!--[endif]-->จัดลำดับ = หาค่าปริมาณ
เปรียบเทียบ เรียงลำดับตัวเลข เช่น
ก่อน - หลัง
เตี้ย - สูง
<!--[if !supportLists]-->7.
<!--[endif]-->รูปทรงและเนื้อหา = รูปทรงมีมิติ มีเนื้อที่ ปริมาณ
<!--[if !supportLists]-->8.
<!--[endif]-->การวัด = ค่าปริมาณ ความยาว ( อุปกรณ์
เช่น ไม่บรรทัด ) หน่วย
เครื่องมือ
<!--[if !supportLists]-->9.
<!--[endif]-->เซต = การจับกลุ่ม มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
<!--[if !supportLists]-->10.
<!--[endif]-->เศษส่วน = เด็กต้องรู้จักคำว่าทั้งหมด ปูพื้นฐานของเศษส่วน เช่น นักเรียนเอาขนมเค้กไปกินครึ่งหนึ่งของทั้งหมด การแบ่งเด็ก
การแบ่งไม่เท่ากัน
ต้องรู้จักคำว่า ครึ่ง เท่าๆกัน
ให้เด็กลงมือทำเอง
<!--[if !supportLists]-->11.
<!--[endif]-->ทำตามแบบและลวดลาย
= บางอย่างเด็กต้องทำตามแบบเพื่อสื่อสารให้เหมือนกัน เช่น
การเขียนตัวเลข
ต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลงมือกระทำ และให้ความอิสรเสรี
<!--[if !supportLists]-->12.
<!--[endif]-->อนุรักษ์ = เช่น การเปรียบระดับน้ำในแก้ว แก้วสูง – เตี้ย เมื่อนำน้ำ 2 แก้วที่มีขนาดเท่ากัน
2 แก้ว
โดยแก้วหนึ่งใส่แก้วสูง อีกแก้วใส่แก้วเตี้ย เด็กจะตอบตามที่ตาเห็นว่า
น้ำที่อยู่ในแก้วสูงมากว่าแก้วเตี้ย
เด็กจะตอบตามรูปธรรม และต่อไปเด็กจะเรียนรู้ในรูปแบบที่เป็น กึ่งสัญลักษณ์ ,
นามธรรม , รูปภาพ เช่น
มีดินน้ำมัน 2 ก้อน ก้อนละเท่าๆกัน
ดินน้ำมันสีเขียวกับสีส้ม นำดินน้ำมันมาปั้นเป็นรูปงู สีเขียวยาว 3 นิ้ว
สี้ส้ม 3 นิ้ว แล้วน้ำสีส้มวางเยื้องไปจากสีเขียวเด็กจะตอบว่าสีใดยาวกว่ากัน
? เด็กตอบว่าสีส้มยาวกว่าสีเขียว เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น
( เยาวภา เตชะ )
<!--[if !supportLists]-->1.
<!--[endif]-->การจัดกลุ่มหรือเซต
<!--[if !supportLists]-->2.
<!--[endif]-->จำนวน 1 -10
<!--[if !supportLists]-->3.
<!--[endif]-->ระบบจำนวน
<!--[if !supportLists]-->4.
<!--[endif]-->ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
<!--[if !supportLists]-->5.
<!--[endif]-->การรวมกลุ่ม
<!--[if !supportLists]-->6.
<!--[endif]-->ลำดับที่ เรียงลำดับ
<!--[if !supportLists]-->7.
<!--[endif]-->การวัด ( หาค่า
ปริมาณ) ความสูง ความยาว น้ำหนัก
อากาศ อุณหภูมิ
<!--[if !supportLists]-->8.
<!--[endif]-->รูปทรงเลขาคณิต
<!--[if !supportLists]-->9.
<!--[endif]-->สถิติและกราฟ ( การเพิ่มขึ้น ) รูปภาพที่แสดงข้อมูล
งานที่มอบหมาย
<!--[if !supportLists]-->1.
<!--[endif]-->จับคู่ 2
คน ช่วยกันคิด 12 ข้อ
<!--[if !supportLists]-->2.
<!--[endif]-->ให้นำกล่องที่มีรูปทรงอย่างไรก็ได้มา เช่น
กล่องยาสีฟัน กล่องครีม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น